ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล
(
Database Management System)


ปัจจุบันเป็นสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่ละหน่วยงานจะมีข้อมูลอยู่เป็น
จานวนมาก ข้อมูลเหล่านี้จะต้องมีการจัดเก็บและมีการเรียกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
การรวบรวมและการเก็บข้อมูลไว้ด้วยกันจะช่วยให้การเปลี่ยนแปลงข้อมูล เช่นการ
เรียกค้น การเพิ่มเติม การลบข้อมูลจะกระทาได้ง่าย การรวบรวมข้อมูลเข้าด้วยกัน
เรียกว่า ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล หรือ
DBMS (Database Management System)
ประโยชน์ของฐานข้อมูล จะช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน หลีกเลี่ยงความซ้ าซ้อนของ
ข้อมูลที่อาจจะเกิดขึ้น ขจัดความขัดแย้งของข้อมูล และสามารถก าหนดความเป็น
มาตรฐานเดียวกันได้ง่าย

ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาด้านความ
เป็นอิสระของข้อมูล (
Data Independence) ที่ไม่มีในระบบแฟ้มข้อมูล ทาให้มีความเป็น
อิสระจากทั้งส่วนของฮาร์ดแวร์และส่วนของข้อมูลภายในฐานข้อมูล เพราะการทางาน
ของโปรแกรมระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลจะใช้ภาษาสอบถาม (
Query Language)
ซึ่งเป็นภาษาคอมพิวเตอร์มีรูปแบบค าสั่งคล้ายกับประโยคในภาษาอังกฤษ ที่ใช้สาหรับ
สอบถามหรือจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล และการทางานของระบบบริหารจัดการ
ฐานข้อมูล จะไม่ขึ้นอยู่กับรูปแบบของฮาร์ดแวร์ที่นามา ใช้ และไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้าง
ทางกายภาพของข้อมูล ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลได้โดยไม่จาเป็นต้อง
ทราบถึงประเภทหรือขนาดของข้อมูล

1. ความหมายของระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล

ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลคือชุดคาสั่ง หรือ โปรแกรม หรือ ซอฟท์แวร์ที่
สร้างขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่บริหารจัดการฐานข้อมูล เช่น รวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ
สะดวกและง่ายต่อการจัดการเกี่ยวกับระบบแฟ้มข้อมูลภายในฐานข้อมูล (การเก็บ
รักษา การเรียกใช้ การแก้ไข การเข้าถึงข้อมูล) รวมถึงการที่จะนามาปรับปรุงให้
ทันสมัย ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลจะทาหน้าที่เป็นเครื่องมือ หรือเป็นตัวกลาง
ระหว่างผู้ใช้ชุดคาสั่งต่าง ที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล เพื่อจัดการและควบคุมความ
ถูกต้อง ความซ้าซ้อนและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ภายในฐานข้อมูล รวมถึง

 

การรักษาความมั่นคง ความปลอดภัยของข้อมูล การสารองข้อมูล และ การเรียกคืน
ข้อมูลในกรณีที่ข้อมูลเกิดความเสียหาย โดยที่ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทราบถึงรายละเอียด
ภายในโครงสร้างของฐานข้อมูล ตัวอย่างของระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้
กั น อ ย่ า ง แ พ ร่ ห ล า ย เ ช่ น
MySQL, PostgreSQL, Microsoft Access, SQL Server,
FileMaker,
Oracle, Sybase, dBASE, Clipper และ FoxPro เป็นต้น
อาจจะสรุปได้ว่าระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล คือกลุ่มของโปรแกรม หรือ
ซอฟท์แวร์ ที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลาง ดูแลจัดการ ควบคุมความถูกต้อง ความซ้าซ้อน
และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับฐานข้อมูล และอานวยความสะดวก
ให้กับผู้ใช้ ทั้งในด้านการสร้าง และการปรับปรุงแก้ไข

ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลที่ดี จะต้องมีความสามารถในการจัดการที่
หลากหลายความสามารถพื้นฐานที่ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลทุกตัวจะต้องมี คือ
ความ สามารถใน การจัดเก็บข้อมูล การเรียกค้น การแก้ไขเปลี่ยนแปลง การลบ และ
กาเพิ่มเติม เป็นต้น ผู้ใช้จะต้องเข้าใจโครงสร้างฐานข้อมูลและการกระท ากับ
ฐานข้อมูลนั้นด้วย รายละเอียดได้กล่าวมาแล้วในบทที่ 1

2. สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล (
Database Architecture)
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล หมายถึงการอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและ
ส่วนประกอหลักที่นามาประกอบเป็นระบบฐานข้อมูล ซึ่งระบบฐานข้อมูลได้ถูก
ออกแบบมาเพื่อรองรับโครงสร้างของข้อมูลที่มีผู้ใช้หลาย คน เช่น ผู้บริหาร ผู้ดูและ
ระบบ และผู้ใช้ทั่วไป โดยไม่มีผลกระทบต่อผู้อื่นที่ก าลังใช้งานฐานข้อมูนั้นอยู่ ผู้ใช้ไม่
จ าเป็นจะต้องสนใจโครงสร้างภายในฐานข้อมูล และผู้บริหารฐานข้อมูลสามารถ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างฐานข้อมูลได้โดยไม่กระทบกับผู้ใช้ฐานข้อมูล ด้วย
วัตถุประสงค์ดังกล่าวจึงต้องมีการแบ่งระดับของข้อมูลออกเป็นหลายระดับเพื่อให้
เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลเป็นแนวคิดที่น าเสนอเกี่ยวกับโครงสร้าง และ
ส่วนประกอบที่รวมกันเป็นระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูลมีจุดเด่นที่ต่างไปจากแฟ้มข้อมูล
ทั่วไปคือ ความเป็นอิสระของข้อมูล แต่เนื่องจากสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลผู้ใช้มี
มุมมองและ วิธีการใช้งานที่แตกต่างกัน ถึงแม้ว่าจะเป็นข้อมูลชุดเดียวกันก็ตาม ในปี
ค.ศ.1975 สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกัน หรือ
ANSI (American National
Standards Institute
) จึงได้ก าหนดมาตรฐานสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล เรียกว่า

 

สถาปัตยกรรมสามระดับ (Three-level Architecture) ได้อธิบายรายละเอียดของ
โครงสร้างของฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้ฐานข้อมูลในระดับที่แตกต่างกัน โดยอาศัย
ลักษณะในการมองภาพรวม (
View) ของระบบเช่น โปรแกรมเมอร์จะเห็นโครงสร้าง
ของฐานข้อมูล ในเชิงของการออกแบบฐานข้อมูลให้ใช้งานร่วมกับโปรแกรมประยุต์ที่
พัฒนาขึ้นมา ส่วนผู้ใช้ทั่วไปจะเห็นเฉพาะข้อมูลจากโปรแกรมประยุต์ที่ก าหนดให้
เท่านั้น ไม่สามารถที่จะเห็นโครงสร้างของฐานข้อมูลที่ถูกออกแบบไว้ได้

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับภายใน (
Internal
level
หรือ Physical Level) ระดับแนวคิด (Conceptual Level) และระดับภายอกหรือ
วิว (
External Level หรือ View) ซึ่งเป็นรูปแบบและโครงสร้างที่ใช้กับระบบฐานข้อมูล
โดยทั่วไป สถาปัตยกรรมฐาน ข้อมูลในแต่ละระดับ จะมีระบบการจัดการฐานข้อมูลทา
หน้าที่ในการแปลงข้อมูลจากระดับหนึ่งไปสู่ระดับหนึ่ง

2.1 สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลระดับภายใน

เป็นระดับของฐานข้อมูลที่อยู่ใกล้กับอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล เป็นระดับที่
อธิบายเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลในเชิงกายภาพ ของฐานข้อมูลว่ามีรูปแบบ และ
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเป็นอย่างไร เป็นระดับที่ใช้ในการเก็บข้อมูลจริง ซึ่งข้อมูลจะ
ถูกเก็บอยู่จริงในสื่อบันทึกข้อมูล มีโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล รวมถึงการเข้าถึง
ข้อมูลต่าง ๆ ในฐานข้อมูล เพื่อดึงข้อมูลที่ต้องการ ตามปกติแล้วผู้ใช้ทั่วไปจะไม่มีสิทธิ์
เข้ามายุ่งเกี่ยวในระดับนี้ ผู้ที่เกี่ยวข้องส่วนใหญ่ คือ ผู้เขียนโปรแกรม และผู้บริหาร
ฐานข้อมูล (
Database Administrator, DBA)
2.2 สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลระดับแนวคิด

เป็นมุมมองของโครงร่างของฐานข้อมูลในแนวความคิด ไม่ใช่โครงร่างจริง
ที่สร้างขี้นมาในการเก็บอุปกรณ์ โครงร่างของฐานข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับ
ตรรกะ (
logical) เป็นระดับที่อยู่ถัดขึ้นมาจากระดับภายใน ที่มีการน าข้อมูลจาก
ฐานข้อมูลไปใช้งาน เป็นระดับของฐานข้อมูลที่เกี่ยวกับ โครงสร้างฐานข้อมูล ชนิดของ
ข้อมูล ข้อกาหนดเกี่ยวกับข้อมูลและความสัมพันธ์ ของข้อมูล เป็นข้อมูลที่ผ่านการ
วิเคราะห์และออกแบบโดยผู้บริหารฐานข้อมูล หรือนักวิเคราะห์ และ ผู้ออกแบบ
ฐานข้อมูล เป็นระดับของข้อมูลที่ถูกออกแบบเพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลในระดับภายนอก
สามารถเรียกใช้ข้อมูลได้

2.3 สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลระดับภายนอกหรือวิว
เป็นมุมมองของผู้ใช้ที่มีต่อฐานข้อมูล หรือที่เรียกกันว่าวิว เป็นระดับ
ฐานข้อมูลที่อยู่ใกล้กับโปรแกรมประยุกต์ และใกล้กับผู้ใช้มากที่สุด ผู้ใช้ภายนอกมี
สิทธิ์เข้าไปใช้ได้ เป็นระดับที่อธิบายเกี่ยวกับฐานข้อมูลที่ใช้งานร่วมกับโปรแกรม
ประยุกต์ การใช้งานระบบฐานข้อมูล ผู้ใช้จะถูกกาหนดสิทธิ์ในการ เพิ่ม ลบ แก้ไข
ข้อมูล โดยผู้ใช้แต่ละคนจะมองเห็นข้อมูลตามสิทธิ์ที่กาหนไว้เท่านั้น ซึ่งจะเป็นการ
รักษาความปลอดภัยและความมั่นคงให้กับฐานข้อมูล และยังท าให้การติดต่อกับ
ฐานข้อมูลท าได้ง่าย

3. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ท างานกับฐานข้อมูล (
Database Language)
ภาษา
SQL (Structured Query Language) เป็นภาษาที่ได้รับความนิยมสาหรับ
ใช้ในการจัดการ หรือ ใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูล เป็นภาษามาตรฐานบนระบบ
ฐานข้อมูลที่ใช้ในการสั่งให้ฐานข้อมูลกระทาการใด ๆ ตามคาสั่ง เช่นการสร้าง การ
แก้ไข การบารุงรักษา การจัดการ การควบคุม และการเข้าถึงฐานข้อมูล ภาษา
SQL
เป็นภาษาที่มีลักษณะคล้าย ๆ กับภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่เป็นที่ยอมรับโดย

ภาพที่ 2.1 สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสามระดับตามมาตรฐาน
ANSI
ข้อมูลกายภาพ

(
Physical Data)
ระดับภายนอก
(
External level)
ระดับภายใน
(
Internal level)
ระดับแนวคิด
(
conceptual level)
View 1

ผู้ใช้คนที่
1
View
3
ผู้ใช้คนที่ 3

View
2
ผู้ใช้คนที่ 2

ฐานข้อมูล

(
Database)
(

ภาพรวมแนวคิด

ภาพรวมภายใน


หน่วยงานมาตรฐาน เช่น
ISO (International Standards Organization) และ ANSI
(
American National Standards Institute) เช่นเดียวกับภาษาคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในการ
ติดต่อฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็น
Microsoft Access, SQL Server, MySQL, DB2 หรือ
Oracle
ก็จะต้องใช้ค าสั่งภาษา SQL ในการควบคุม
ภาษา
SQL เป็นส่วนประกอบหนึ่งของ ระบบจัดการฐานข้อมูล มักพบใน
ฐานข้อมูล เชิงสัมพันธ์ (
relational database) เป็นภาษาที่นิยมใช้กันมาก เพราะง่ายต่อ
การเรียนรู้ และในการใช้ภาษา
SQL ผู้ใช้เพียงแค่รู้ว่าต้องการจะ ทาอะไร เท่านั้น
ไม่จาเป็นจะต้องทราบว่า
ทาอย่างไร ผู้ผลิตซอฟท์แวร์ได้นาภาษา SQL มาพัฒนา
ด้านระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จนเป็นที่นิยมกันอย่าแพร่หลายในปัจจุบัน
ตั้งแต่ระดับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กไปจนถึงระดับเมนเฟรม การใช้งานในภาษา

SQL
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ ภาษา SQL ที่โต้ตอบได้ (Interactive SQL) และภาษา
SQL
ที่ฝังในโปรแกรม (Embedded SQL)
ภาษา
SQL สามารถนาไปใช้ได้ในหลายรูปแบบของธุรกิจ หรือองค์กรที่ใช้
เทคโนโลยีฐานข้อมูล (
Database Technologies) ใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งในธุรกิจขนาด
ใหญ่ ธุรกิจขนาดเล็ก โรงพยาบาล ธนาคาร สถานศึกษา ซึ่งจริง แล้ว คอมพิวเตอร์
แทบจะทุกชนิดหรือคอมพิวเตอร์แบบพกพาต่าง จะมีโปรแกรมที่ใช้ภาษา
SQL แทบ
ทั้งสิ้น เช่น โทรศัพท์แอนดรอยด์ (
Android Phone) และไอโฟน (Iphone) รวมถึงโมบาย
แอพลิเคชั่น (
Mobile Applications) ที่พัฒนาโดย Google, Skype และ Dropbox ก็ยังใช้
ภาษา
SQL โดยตรงอีกด้วย
ใน ปีค.ศ.
1968 สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกัน หรือ ANSI ได้ก าหนด
มาตรฐานของภาษา
SQL ขึ้น โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
3.1 ภาษาส าหรับการนิยามข้อมูล (
Data Definition Language: DDL)
ภาษาส าหรับการนิยามข้อมูลหรือ ภาษา
DDL ประกอบด้วยกลุ่มค าสั่ง เช่น
CREATE , ALTER
และ DROP เป็นต้น ใช้ส าหรับก าหนดโครงสร้างของตารางใน
ฐานข้อมูล การกาหนดโครงสร้างข้อมูลว่าคอลัมน์ใด ประเภทข้อมูลเป็นประเภทใด
รวมทั้งการจัดการด้านการเพิ่ม การแก้ไข การลบ คอลัมน์ต่างๆ ในตารางข้อมูล

3.2 ภาษาส าหรับการจัดการข้อมูล (
Data Manipulation Language: DML)
ภาษาสาหรับการจัดการข้อมูล หรือ ภาษา
DML ประกอบด้วยคาสั่ง เช่น
INSERT UPDATE
และ SELECT เป็นต้น ที่ใช้ในการจัดการข้อมูลภายในตารางใน
ฐานข้อมูลรวมถึงการเปลี่ยนแปลงข้อมูล เช่น การลบข้อมูล และการเพิ่มเติมข้อมูล


3.3 ภาษาสาหรับการควบคุมข้อมูล (
Data Control Language: DCL)
ภาษาส าหรับการควบคุมข้อมูล หรือ ภาษา
DCL ประกอบด้วยค าสั่ง
GRANT
และ REVOKE เป็นต้น ที่ใช้ในการควบคุมระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
ด้วยการก าหนดสิทธิของผู้ใช้ที่แตกต่างกัน

ระบบจัดกาฐานข้อมูล ส่วนใหญ่แล้วจะมีส่วนประกอบหลัก ได้แก่ ส่วนของ
ภาษา
SQL พจนานุกรมข้อมูล โปรแกรมอ านวยความสะดวก โปรแกรมช่วยใน
การสร้างโปรแกรมประยุกต์ และโปรแกรมช่วยจัดทารายงาน ฐานข้อมูล แต่ละตัวจะมี
คุณสมบัติในการทางานที่แตกต่างกัน การที่จะพิจารณาว่าจะเลือกใช้ ระบบจัดการ
ฐานข้อมูล ตัวใดนั้นจะต้องพิจารณาคุณสมบัติของ ระบบจัดการฐานข้อมูล แต่ละตัว
ว่ามีความ สามารถตรงตามที่ต้องการหรือไม่ ประเด็นในเรื่องราคาก็เป็นเรื่องสาคัญ
เช่นกัน เพราะราคาของ ฐานข้อมูล แต่ละตัวไม่เท่ากัน นอกจากนี้ยังต้องพิจารณาถึ
ความเข้ากันได้กับฮาร์ดแวร์ และซอฟท์แวร์ระบบปฏิบัติการที่มีอยู่ด้วย

ภาพที่ 2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างโปรแกรมประยุกต์กับระบบจัดการฐานข้อมูล

(ที่มา :
http://www.9experttraining.com/articles/)
4. ระบบจัดการฐานข้อมูล (
Database Management System หรือ DBMS)
ระบบจัดการฐานข้อมูล หมายถึงซอฟท์แวร์ที่ดูแลจัดการเกี่ยวกับฐานข้อมูล
โดยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ทั้งในด้านการสร้าง การปรับปรุงแก้ไข การเข้าถึง
ข้อมูล และการจัดการเกี่ยวกับระบบแฟ้มข้อมูลทางกายภาพ (
Physical File
Organization
)

หน้าที่ระบบจัดการฐานข้อมูลหลัก ๆ คือการเก็บข้อมูลลงไว้ในฐานข้อมูล และ
การดึงข้อมูลเหล่านั้นออกมาจากฐานข้อมูล ที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สะดวกสบาย ทาให้ผู้ใช้เกิดความมั่นใจในความถูกต้อง สอดคล้องกัน (
Consistency)
ของข้อมูลต่าง ๆ ภายในฐานข้อมูล สามรถสรุปหน้าที่หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล
ได้ดังนี้

4.1 การจัดการพจนานุกรมข้อมูล (
Data Dictionary Management)
พจนานุกรมข้อมูลเป็นสิ่งที่มีความส าคัญอย่างยิ่งต่อการจัดเก็บ
รายละเอียดของข้อมูลทั้งหมด หรือที่เรียกกันว่า
meta data ไว้อย่างเป็นระบบ เมื่อมี
การเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูล จะทาการค้นหาโครงสร้างข้อมูลและรายละเอียดของ
ข้อมูลนั้น ในพจนานุกรมข้อมูลนี้ก่อนและใช้ข้อมูลนี้ในการเข้าถึงข้อมูลจริง ถ้ามี
การเปลี่ยนแปลงข้อมูลใด เกิดขึ้นกับข้อมูลในฐานข้อมูล ก็จะมีการปรับปรุง
พจนานุกรมข้อมูลนี้ด้วย

4.2 การจัดการเก็บข้อมูลและการแปลงข้อมูล (
Data Storage Management
and Transformation
)
ระบบจัดการฐานข้อมูล จะท าหน้าที่จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบจัด
หมวดหมู่ข้อมูลและแปลงคาสั่งที่ใช้จัดการกับข้อมูลภายในฐานข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบ
ที่ฐานข้อมูลเข้าใจ ซึ่งจะท าให้ผู้จัดเก็บท างานได้สะดวกมากขึ้น และป้องกันความ
ผิดพลาดได้

4.3 การจัดการด้านความปลอดภัย (
Security Management)
ระบบฐานข้อมูลที่มีการใช้งานฐานข้อมูลร่วมกันจะสร้างระบบรักษา
ความปลอดภัยของข้อมูล โดยก าหนดรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าใช้ระบบ ระบบจัดการ
ฐานข้อมูล จัดการเรื่องนี้โดยการเก็บรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ใช้งานแต่ละคนไว้ใน
พจนานุกรมข้อมูล เช่น มีใครบ้างที่สามารถเข้ามาใช้งานฐานข้อมูลได้ มีรหัสผ่าน
อย่างไร สามารถใช้งานได้ในระดับใด ด้วยวิธีการดังกล่าวจะทาให้มั่นใจได้ว่าเมื่อมีผู้ใช้
หลาย คนเข้าถึงข้อมูลพร้อมกัน จะยังคงความถูกต้องของข้อมูลในฐานข้อมูลได้

4
.4 การจัดการความคงสภาพของข้อมูล (Data Integrity Management)
เนื่องจากมีการเก็บรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลต่าง ๆ ไว้ในพจนานุกรม
ข้อมูลทั้งหมด การบันทึกหรือแก้ไขข้อมูลใด แต่ละครั้ง ระบบจัดการฐานข้อมูล จะ
ทาการตรวจสอบและยอมรับให้มีการบันทึกหรือแก้ไขข้อมูลนั้นในขอบเขตที่ก าหนด

 

ฐานข้อมูล
(
Database)
4.
5 การจัดการส ารองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล (Backup and Recovery
Management
)
ระบบจัดการฐานข้อมูล จะมีโปรแกรมหรือเครื่องมืออานวยความสะดวก
ให้กับฐานข้อมูลเพื่อช่วยในการสารองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล เพื่อควบคุมความ
ปลอดภัยหรือความมั่นคงและความคงสภาพของข้อมูล

4.6 ภาษาที่ใช้ในการเข้าถึงฐานข้อมูลและการเชื่อมต่อกับโปรแกรมประยุกต์

ระบบการจัดการฐานข้อมูลสนับสนุนหรือเลือกเส้นทางการเข้าถึงข้อมูล
โดยผ่านภาษาสาหรับสอบถาม ซึ่งเป็นภาษาหรือคาสั่งเข้าใจง่ายในการค้นคืนข้อมูล
จากฐานข้อมูล

4.7 การควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้หลายคน (
Multi User Access
Management
)
ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะใช้หลักการออกแบบโปรแกรมที่เหมาะสม
เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้หลายคนสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลพร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน โดย
ไม่ท าให้เกิดความขัดข้องของข้อมูลและข้อมูลมีความถูกต้องสมบูรณ์

ภาพที่ 2.3 โครงสร้างระบบจัดการฐานข้อมูล (
DBMS) และระบบปฏิบัติการ (OS)
ระบบจัดการฐานข้อมูล
(
DBMS)
(

ไมโครคอมพิวเตอร์ (
Microcomputer)
ระบบปฏิบัติการ
(
OS)
ระบบฏิบัติกา

(
OS)
ระบบจัดการฐานข้อมูล
(
DBMS)

4.8 การติดต่อสื่อสารกับฐานข้อมูล (Database Communication)
ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ทันสมัยจะต้องสนับสนุนการใช้งาน
ฐานข้อมูลผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเขียนค าสั่งด้วย
โปรแกรมที่ทางานบน
Website เช่น Browser ของ Internet Explorer เป็นต้น
4.
9 การพัฒนาระบบงานได้รวดเร็ว (High Productivity Tools)
ระบบการจัดการฐาน ข้อมูล เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบงานได้
รวดเร็วในเวลาอันสั้น ช่วยลดค่าใช้จ่ายในพัฒนาได้ แต่อาจจะไม่ลดค่าใช้จ่ายในการ
บารุงรักษา

5. แบบจาลองระบบฐานข้อมูล (
Database Models)
แบบจาลองระบบฐานข้อมูล เป็นการนาแนวคิดต่าง
ๆ มาเสนอให้เกิดเป็น
แบบจาลองเพื่อนาเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เข้าใจ
ได้ง่าย และเพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างผู้ออกแบบฐานข้อมูลกับผู้ใช้ให้ตรงกัน

ปัจจุบันสามารถแบ่งแบบจ าลองระบบฐานข้อมูล ออกได้ ดังนี้

5.1 แบบจาลองฐานข้อมูลแบบล าดับชั้น (
Hierarchical Model)
เป็นแบบจาลองฐานข้อมูลที่นาเสนอข้อมูล และความสัมพันธ์ระหว่าง
ข้อมูลที่มีลักษณะเป็นโครงสร้างคล้ายต้นไม้ (
Tree Structure) ที่มีการสืบทอดแบบ
เป็นล าดับชั้น เป็นการจัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบ พ่อ-ลูก เป็น
ระบบฐานข้อมูลทีลักษณะโครงสร้างเข้าใจได้ง่าย ระบบโครงสร้างมีความซับซ้อนน้อย
แต่มีข้อเสีย เช่น มีความยืดหยุ่นน้อย ยากต่อกการพัฒนาเพราะการปรับโครงสร้าง
ของต้นไม้ ค่อนข้างยุ่งยาก มีโอกาสเกิดความซ้าซ้อนมาก และถ้าข้อมูลมีจานวนมาก
การเข้าถึงข้อมูลจะใช้เวลานานในการค้นหา เนื่องจากจะต้องเข้าถึงที่ต้นกาเนิดของ
ข้อมูล เป็นสถาปัตยกรรมข้อมูลที่เก่าแก่ที่สุด ปัจจุบันไม่นิยมใช้กันแล้ว

5.2 แบบจ าลองฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (
Network Model)
ลักษณะแบบจาลองฐานข้อมูลแบบเครือข่ายนี้ โครงสร้างของข้อมูลแต่
ละแฟ้ม ข้อมูลมีความสัมพันธ์คล้ายร่างแห สามารถเชื่อมโยงข้อมูลแบบไป-กลับ ได้
ทาให้สะดวกในการค้นหามากกว่าแบบจาลองแบบลาดับชั้น เพราะไม่ต้องไปเริ่มค้นหา
ตั้งแต่ข้อมูลต้นกาเนิดโดยทางเดียว และการค้นหาข้อมูลมีเงื่อนไขได้มาก และกว้าง
กว่า ช่วยลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ ปัจจุบันยังคงมีการใช้งานกับคอมพิวเตอร์
ระบบเมนเฟรม